HOME
เกี่ยวกับท่าเรือ
ประวัติ
วิสัยทัศน์/พันธกิจ
เป้าประสงค์
คณะกรรมการและผู้บริหารทุนหมุนเวียน
การจัดการความรู้ของหน่วยงาน
- รายงานองค์ความรู้ที่มีการจัดการเพื่อให้เกิดวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ
- กระบวนการตอบสนองต่อสถานการณ์ฉุกเฉิน
- คู่มืองานบรรเทาสาธารณภัย
- คู่มือการปฏิบัติงานภายใต้สถานการณ์โควิด
โครงสร้างท่าเรือพาณิชย์สัตหีบ - กองทัพเรือ
ชื่อตำแหน่งและคำศัพท์ต่างๆ
ข่าว/ประกาศ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ประกาศจัดซื้อ-จัดจ้าง ท่าเรือพาณิชย์สัตหีบ กองทัพเรือ
อัตราค่าบริการ
อัตราค่าภาระ TARIFF2019
ค่าธรรมเนียมพิเศษเรือลากจูง
ค่าเช่ารถปั้นจั่นเคลื่อนที่ รถยก
เรือพาณิชย์ซ่อมทำบริเวณท่าเทียบเรืออู่ราชนาวีมหิดลอดุลยเดช
พื้นที่ใช้ประโยชน์หลังสิ้นสุดกระบวนการศาล
การบริหารจัดการ
แผนปฏิบัติการระยะยาว (แผนยุทธศาสตร์)
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนบริหารทรัพยากรบุคคล
การบริหารความเสี่ยง
ด้านการเงิน และการบริหารงบประมาณ
- รายงานของผู้ตรวจสอบบัญชีและรายงานการเงิน
- รายงานการเบิกจ่าย ปีงบประมาณ
กฏหมาย และข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง
นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี
การดำเนินงานตามนโยบายรัฐบาล
- ยุทธศาสตร์ชาติ 20ปี
- พระราชกฤษฎีกา
- แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
- แผนความมั่นคงแห่งชาติทางทะเล
- นโยบายผู้บัญชาการทหารเรือ
E - PORT
E - PORT
ระบบบริหารทรัพยากรบุคคล
ระบบจัดการสินทรัพย์และครุภัณฑ์
ระบบจัดการสินทรัพย์และครุภัณฑ์ SUPBUD 2024
ติดต่อเรา
ในวันจันทร์ที่ 12 กุมภาพันธ์ 2567 นาวาเอก ธงชัย ถามะพันธ์ รองผู้อำนวยการ ท่าเรือพาณิชย์สัตหีบ – กองทัพเรือ และผู้อำนวยการฝ่ายบริหาร ท่าเรือพาณิชย์สัตหีบ – กองทัพเรือ เป็นผู้แทน พลเรือตรี อมรเทพ บุญยงค์ ผู้อำนวยการท่าเรือพาณิชย์สัตหีบ – กองทัพเรือ เป็นประธานเปิดการฝึกการรักษาความปลอดภัยภายในเขตท่าเรือ 2/2 ประจำปีงบประมาณ 2567 ระหว่างวันจันทร์ที่ 12 กุมภาพันธ์ 2567 ถึงวันอาทิตย์ที่ 18 กุมภาพันธ์ 2567 ณ บริเวณหน้ากองบังคับการ การท่าเรือสัตหีบ ฐานทัพเรือสัตหีบ โดยการฝึกรักษาความปลอดภัยในเขตท่าเรือจุกเสม็ด การท่าเรือสัตหีบ ฐานทัพเรือสัตหีบ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้กำลังพลที่รับการฝึกมีความรู้ ความชำนาญ และได้รับประสบการณ์ในการรักษาความปลอดภัย รวมทั้งการตรวจสอบบุคคลและยานพาหนะ ตลอดจนวัสดุอุปกรณ์ที่ผ่านเข้า – ออกในเขตท่าเรือพาณิชย์สัตหีบ – กองทัพเรือ เพื่อเป็นการป้องกันการลักลอบสิ่งผิดกฎหมาย เข้ามาในพื้นที่รับผิดชอบ การป้องกันการก่อการร้ายซึ่งสอดคล้องกับแนวทางการบูรณาการด้านความมั่นคง ตลอดจนเพื่อเพิ่มพูนประสบการณ์ในการดับเพลิงกู้ภัยช่วยเหลือผู้บาดเจ็บเบื้องต้น อีกทั้งยังเป็นการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างหน่วยงานในพื้นที่ท่าเรือพาณิชย์สัตหีบ – กองทัพเรือ โดยการฝึกครั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งของประมวลข้อบังคับว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยของเรือและท่าเรือระหว่างประเทศ (International Ship And Port Facility Security Code: ISPS Code) # กองทัพเรือ “เทิดทูนสถาบัน ยึดมั่นระเบียบวินัย ประชาชนภูมิใจ ทะเลไทยมั่นคง” Fit for the future # ท่าเรือพาณิชย์สัตหีบ – กองทัพเรือ “ถูกต้อง รวดเร็ว ร่วมมือ”